ทฤษฎีดาว (Dow’s Theory) บิดาของการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิคตะวันตก
Charles Henry Dow เป็นผู้ก่อตั้งสำนักหนังสือพิมพ์ The Wall Street Journal และ Charles Henry Dow เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเงิน ซึ่งในยุคสมัยนั้นเป็นยุคที่เทคโนโลยีค่อนข้างล้าหลัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์หุ้นจะไม่ได้สะดวกสบายเหมือนในสมัยนี้ ดังนั้นจึงเป็นความยากลำบากที่จะเขียนหนังสือพิมพ์ให้ผู้อ่านได้เข้าใจ Charles Henry Dow จึงได้สร้างดัชนีตัวหนึ่งขึ้นมาชื่อว่าดาวโจนส์ โดยจะนำหุ้นที่มีมูลค่าการซื้อขายที่สูงกลุ่มนึงมาคำนวนเป็นดัชนี เพื่อแทนภาพรวมของตลาด เพื่อที่จะได้อธิบายภาวะของตลาดได้ง่ายขึ้น
ต่อมา Charles Henry Dow ได้นำเอาตัวเลขดัชนีดาวโจนส์มาวาดเป็นกราฟ และนำเสนอแกผู้อ่านว่า มันมีรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณการซื้อขายกับแกนเวลา หลังจากนั้นเขาได้เปลี่ยนจากบทวิเคาะห์ปัจจัยพื้นฐานมาเป็น บาทวิเคราะห์วิจารณ์หุ้นด้วยกราฟแทน
หลังจากที่ Charles Henry Dow ได้เสียชีวิตลง แฟนหนังสือและเพื่อน ของ Charles Henry Dow ได้รวบรวมข้อมูลต่างๆในหนังสือของ Charles Henry Dow ทำให้เกิดเป็น ทฤษฎีดาว (Dow’s Theory) ตามความคิดของ Charles Henry Dow ตลาดหุ้นก็เปรียบเสมือนการขึ้นลงของน้ำทะเล เวลาน้ำทะเลขึ้นคลื่นลูกหลังมันจะสูงกว่าลูกหน้าเสมอ แต่ในทางกลับกันเวลาน้ำทะเลลงคลื่นลงหลังจะต่ำกว่าลูกแรกเสมอ
ทฤษฎีดาว ได้แบ่งแนวโน้มราคาหุ้นออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. แนวโน้มใหญ่ (กรอบสีเขียว) หรือเรียกอีกชื่อว่า แนวโน้มหลักแนวโน้มประเภทนี้จะกินเวลาในการเคลื่อนที่ตั้งแต่ 200 ขึ้นไป ซึ่งอาจจะยาวนานได้ถึง 4 ปี โดยจะมีลักษณะการเคลื่อนที่ดังนี้
แนวโน้มขาขึ้น
1. จุดต่ำสุดของคลื่นใหม่ จะสูงกว่า คลื่นเก่าเสมอ
2. จุดสูงสุดของคลื่นใหม่ จะสูงกว่า คลื่นเก่าเสมอ
3. เมื่อราคาขึ้นจะกินระยะเวลานานกว่า ลงเสมอ
แนวโน้มขาลง
1. จุดต่ำสุดของคลื่นใหม่ จะต่ำกว่า คลื่นเก่าเสมอ
2. จุดสูงสุดของคลื่นใหม่ จะต่ำกว่า คลื่นเก่าเสมอ
3. เมื่อราคาลงจะกินระยะเวลานานกว่า ขึ้นเสมอ
2. แนวโน้มรอง (กรอบสีชมพู) หรือแนวโน้มระยะกลาง
เป็นแนวโน้มนี้จะกินระยะเวลาตั้งแต่ 3 สัปดาห์ถึงหลายเดือน แนวโน้มรองจะเป็นแนวโน้มที่ราคาไม่เคลื่อนที่ไปตามแนวโน้มใหญ่แต่จะทำแนวโน้มเป็นของตัวเอง สามารถเป็นได้ทั้งแนวโน้ม ขาขึ้น แนวโน้มขาลง และแนวโน้ม side way แต่การเคลื่อนที่ก็จะยังวิ่งอยู่ภายใต้ของแนวโน้มใหญ่(ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นเพียงการพักตัวของแนวโน้มใหญ่ เพื่อจะวิ่งไปต่อตามแนวโน้มเดิม)
3.แนวโน้มย่อย
เป็นแนวโน้มที่นักวิเคราะห์คิดว่าไม่มีนัยสำคัญ เพราะเป็นการแกว่งตัวเล็กๆในส่วนของแนวโน้มรองเท่านั้น ซึ่งจะกินเวลาประมาณ 3 สัปดาห์
Charles Henry Dow เป็นผู้ก่อตั้งสำนักหนังสือพิมพ์ The Wall Street Journal และ Charles Henry Dow เป็นนักเศรษฐศาสตร์การเงิน ซึ่งในยุคสมัยนั้นเป็นยุคที่เทคโนโลยีค่อนข้างล้าหลัง เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์หุ้นจะไม่ได้สะดวกสบายเหมือนในสมัยนี้ ดังนั้นจึงเป็นความยากลำบากที่จะเขียนหนังสือพิมพ์ให้ผู้อ่านได้เข้าใจ Charles Henry Dow จึงได้สร้างดัชนีตัวหนึ่งขึ้นมาชื่อว่าดาวโจนส์ โดยจะนำหุ้นที่มีมูลค่าการซื้อขายที่สูงกลุ่มนึงมาคำนวนเป็นดัชนี เพื่อแทนภาพรวมของตลาด เพื่อที่จะได้อธิบายภาวะของตลาดได้ง่ายขึ้น
ต่อมา Charles Henry Dow ได้นำเอาตัวเลขดัชนีดาวโจนส์มาวาดเป็นกราฟ และนำเสนอแกผู้อ่านว่า มันมีรูปแบบที่แสดงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณการซื้อขายกับแกนเวลา หลังจากนั้นเขาได้เปลี่ยนจากบทวิเคาะห์ปัจจัยพื้นฐานมาเป็น บาทวิเคราะห์วิจารณ์หุ้นด้วยกราฟแทน
หลังจากที่ Charles Henry Dow ได้เสียชีวิตลง แฟนหนังสือและเพื่อน ของ Charles Henry Dow ได้รวบรวมข้อมูลต่างๆในหนังสือของ Charles Henry Dow ทำให้เกิดเป็น ทฤษฎีดาว (Dow’s Theory) ตามความคิดของ Charles Henry Dow ตลาดหุ้นก็เปรียบเสมือนการขึ้นลงของน้ำทะเล เวลาน้ำทะเลขึ้นคลื่นลูกหลังมันจะสูงกว่าลูกหน้าเสมอ แต่ในทางกลับกันเวลาน้ำทะเลลงคลื่นลงหลังจะต่ำกว่าลูกแรกเสมอ
ทฤษฎีดาว ได้แบ่งแนวโน้มราคาหุ้นออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. แนวโน้มใหญ่ (กรอบสีเขียว) หรือเรียกอีกชื่อว่า แนวโน้มหลักแนวโน้มประเภทนี้จะกินเวลาในการเคลื่อนที่ตั้งแต่ 200 ขึ้นไป ซึ่งอาจจะยาวนานได้ถึง 4 ปี โดยจะมีลักษณะการเคลื่อนที่ดังนี้
แนวโน้มขาขึ้น
1. จุดต่ำสุดของคลื่นใหม่ จะสูงกว่า คลื่นเก่าเสมอ
2. จุดสูงสุดของคลื่นใหม่ จะสูงกว่า คลื่นเก่าเสมอ
3. เมื่อราคาขึ้นจะกินระยะเวลานานกว่า ลงเสมอ
แนวโน้มขาลง
1. จุดต่ำสุดของคลื่นใหม่ จะต่ำกว่า คลื่นเก่าเสมอ
2. จุดสูงสุดของคลื่นใหม่ จะต่ำกว่า คลื่นเก่าเสมอ
3. เมื่อราคาลงจะกินระยะเวลานานกว่า ขึ้นเสมอ
2. แนวโน้มรอง (กรอบสีชมพู) หรือแนวโน้มระยะกลาง
เป็นแนวโน้มนี้จะกินระยะเวลาตั้งแต่ 3 สัปดาห์ถึงหลายเดือน แนวโน้มรองจะเป็นแนวโน้มที่ราคาไม่เคลื่อนที่ไปตามแนวโน้มใหญ่แต่จะทำแนวโน้มเป็นของตัวเอง สามารถเป็นได้ทั้งแนวโน้ม ขาขึ้น แนวโน้มขาลง และแนวโน้ม side way แต่การเคลื่อนที่ก็จะยังวิ่งอยู่ภายใต้ของแนวโน้มใหญ่(ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเป็นเพียงการพักตัวของแนวโน้มใหญ่ เพื่อจะวิ่งไปต่อตามแนวโน้มเดิม)
3.แนวโน้มย่อย
เป็นแนวโน้มที่นักวิเคราะห์คิดว่าไม่มีนัยสำคัญ เพราะเป็นการแกว่งตัวเล็กๆในส่วนของแนวโน้มรองเท่านั้น ซึ่งจะกินเวลาประมาณ 3 สัปดาห์